วันพฤหัสบดีที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)


การเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดคิดสร้างสรรค์
     
      
            1. การเล่นเป็นกระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
            2. การเล่นทำให้เด็กเกิดความสนุกเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย
            3. การเล่นทำให้เด็กสามารถปรับตัวให้กับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม

piaget แบ่งพัฒนาการการเล่นของเด็กออกเป็น 3 ขั้น ดังนี้
      
       ขั้นที่ 1 ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play)
                    - การสำรวจ จับต้องวัตถุ
                    - จะยุติลงเมื่อเด็กอายุ 2 ขวบ
     
       ขั้นที่ 2 ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constuctive Play)
                   - ช่วงอายุ 1 ขวบครึ่ง - 2 ปี
                   - เล่นโดยไมมีขอบเขตจำกัด
                   - เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึกถึงความเป็นจริง

        ขั้นที่ 3 ขั้นการเล่นที่ใช้สัญญาลักษณ์ (Symbolic Play)
                    - อายุ 2 ปีขึ้นไป
                    - สามารถพัฒนาเต็มที่เมื่ออายุ 3 - 4 ปี
                    - เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำ และสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่างๆ  ที่ไม่มีอยู่ในบริเวณนั้น

                    - เป็นพัฒนาการสูงสุดของการเล่น คือ การเล่นบทบาทสมมติ


-ประเภทของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

1.การเล่นกลางแจ้ง



2.การเล่นในร่ม



-หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง


1.ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก


2.ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม


3.มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม


4.มีการสรุปท้ายกิจกรรม



กิจกรรม "นักออกแบบอาคาร"

อาจารย์ให้นักศึกษาช่วยกันต่อไม้จิ้มฟันกับดินน้ำมันให้ได้สูงที่สุด ในระยะเวลาที่กำหนดซึ่งทำ 3 ครั้ง 
      ครั้งที่ 1 ห้ามให้พูดคุย ปรึกษากันระว่างทำกิจกรรม
      ครั้งที่ 2 ตกลงเลือกหัวหน้ากลุ่ม 1 คนซึ่งจะเป็นผู้ออกคำสั่งให้เพื่อนทำตาม
      ครั้งที่ 3 สามารถพูดคุย ปรึกษากันได้ภายในกลุ่มระหว่างทำกิจกรรม







assessment (ประเมิน)


-ตัวเอง เข้าเรียนตรงเวลา  ตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์สอน

-เพื่อน  เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อย   ตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์สอน

-ห้องเรียน สะอาดเรียบร้อย อุปกรณ์พร้อมใช้งาน


-อาจารย์ เเต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลา อธิบายเนื้อหาชัดเจนเข้าใจง่าย



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น